ความ
รู้
เกี่ยวกับ Internet Proxy-Services
ความ
เป็น
มา
ปัญหา
ที่
พบ
แนว
ทางแก้
ปัญหา
Proxy Server Services
ข้อ
เสีย
ตัว
อย่าง
การ
ทำ
งาน
ความ
เป็น
มา
ปัจจุบัน
เครือ
ข่าย
คอมพิวเตอร์
ที่
สื่อ
สาร
ด้วย
โปรโต
คอล TCP/IP ได้
มี
การ
นำ
ไป
ใช้
อย่าง
กว้าง
ขวาง และ
มี
การ
เชื่อ
ต่อ
กัน
เป็น
จำนวน
มาก จน
กลาย
เป็น
เครือ
ข่าย
ความพิวเตอร์ที่
ใหญ่
ที่
สุด
เครือ
ข่าย
หนึ่ง จน
ได้
รับ
การ
ขนาน
นาม
ว่า
อภิมหา
เครือ
ข่าย
(Internet) จาก
จุด
เริ่ม
ต้น
ของ
การ
ใช้อินเตอร์เน็
ต มี
คอมพิวเตอร์
ที่
เชื่อม
ต่อกับเครือ
ข่าย
เพียง 4 เครื่อง จน
ถึง
ปัจจุบัน
เวลา
ผ่าน
ไป
ประมาณ 30 ปี มี
คอมพิวเตอร์
เชื่อม
ต่อกับเครือ
ข่าย
เพิ่ม
มาก
ขึ้น
ถึง 16 ล้านเครื่อง และ
มี
ผู้
ใช้
มาก
กว่า 1,000 ล้าน
คน และ
ยัง
มี
แนวโน้มที่
มาก
ขึ้น
เป็น
ทวี
คูณ
เมื่อ
ปริมาณ
ของเครื่องคอมพิวเตอร์
ที่
เชื่อม
ต่อกับเครือ
ข่าย
และ
จำนวน
ผู้
ใช้อินเตอร์เ
น็ตเพิ่ม
มาก
ขึ้น ทำ
ให้
ปริมาณ ข้อ
มูล
ที่
ผ่าน
เข้า
ออก
ใน
เครือ
ข่าย
มี
จำนวน
สูง
ขึ้น
เรื่อย ๆ ทำ
ให้
เกิด
ปัญหา
การ
คับ
คั่ง
ของ
ข้อ
มูล
ปริมาณ
มาก
ปัญหา
ที่
พบ
เมื่อ
จำนวน
ของ
ข้อ
มูล
มี
ปริมาณ
เพิ่ม
ขึ้น
อย่าง
ทวี
คูณ ทำ
ให้
เครือ
ข่าย
ที่
มี
อยู่เดิมนั้น ต้อง
รับ
ภาระ
ใน
การ บริการ
ข้อ
มูล
จำนวน
มาก บาง
เครือ
ข่าย
ไม่
สามารถ
ให้
บริการ
ใด ๆ ได้
เลย หรือ
บาง
เครือ
ข่าย
ไม่
สามารถ
บริการ
ได้ เท่ากับความ
ต้อง
การ
ของ
ผู้
ใช้
เช่น เกิด
ความ
ล่าช้อของ
ข้อ
มูล หรือ มี
การ
สูญ
หาย
เกิด
ขึ้น
บ่อย
ครั้ง
จน
ไม่
สามารถ
ที่
จะ
ยอม
รับ
ได้
ถึง
แม้
ใน
ปัจจุบัน
เทคโนโลยี ของ
สาย
นำ
สัญญาณ
จะ
พัฒนา
ขึ้น
จากเดิมมาก กล่าว
คือ
สามารถ
ที่
จะ
ส่ง
ข้อ
มูล
ได้ ด้วย
ความ
เร็ว
ที่
สูง
ขึ้น
กว่าเดิมมาก
แล้ว
ก็
ตาม แต่
ก็
ยัง
ไม่
เพียง
พอ
ต่อ
ความ
ต้อง
การ
ใช้
อยู่
ดี
แนว
ทางแก้
ปัญหา
มี
กลุ่ม
คน
หลาย
กลุ่ม
ที่
พยายาม
ที่
จะ
แก้
ปัญหา
ที่
เกิด
ขึ้น
นี้ ทั้ง
ที่
เน้น
การ
แก้
ปัญหา
ความ
คับ
คั่ง
ของ
ปริมาณ
ข้อ
มูล
แนว
ความ
ความ
คิด
หนึ่ง
ที่
น่า
สน
ใจ
คือ การ
นำ
ข้อ
มูล
ที่
ต้อง
ใช้
บ่อย ๆ มา
เก็บ
ไว้
ให้
ใกล้
เรา
ที่
สุด นั้น
คือ
การ
นำ
ข้อ
มูล ที่
มี
ใน
ที่
ต่าง ๆ ที่
สมาชิก
ใน local network ต้อง
การ
ใช้
บ่อย
ครั้ง
มา
เก็บ
ไว้
ใน local network เช่น การ
ทำ FTP Server ภาย
ใน
หน่วย
งาน ซึ่ง
จะ
ทำ
การ mirrors ข้อ
มูล
จาก FTP site ต่าง ๆ ที่
มี
ข้อ
มูล
น่า
ใช้
มา
เก็บ
ไว้ เพื่อ
ลด
ปริมาณ
การ
ติด
ต่อกับภาย
นอก
เครือ
ข่าย ซึ่ง
จะ
ทำ
ให้ การ
ติด
ต่อกับเครือ
ข่าย
ภาย
นอก
มี
ความ
คล่อง
ตัว
สูง
ขึ้น
อีก
แนว
ความ
คิด
หนึ่ง
ที่
มี
ผู้
นำ
มา
ประยุกต์
จน
สามารถ
ใช้
งาน
ได้
จริง
คือ การ
คัด
เลือก
การ
ติด
ต่อ
ที่
ไม่
ต้อง
การ
การ
โต้
ตอบ แบบ
ทัน
ที
ทัน
ใด เช่น FTP, HTTP มา
พัฒนา
จน
ได้ server ที่
มี
ลักษณะ
การ
ทำ
งาน
เช่น
เดียวกับข้อ 1 ซึ่ง
การ
ทำ
งาน
ของ server ลักษณะ
นี้
คือ เมื่อ client ต้อง
การ
ข้อ
มูล
ใด
ที่
เป็น
ลักษณะ
ของ HTTP หรือ FTP จะ
ติด
ต่อ
ผ่าน Proxy Server หาก
ข้อ
มูล
นั้น
ปรากฎ
อยู่
บน proxy ก็
จะ
นำ
ข้อ
มูล
นั้น
มา
ใช้ แต่
ถ้า
ไม่
พบ proxy ก็
จะ
ติด
ต่อ
ไป
ยัง
ปลาย
ทาง
(แหล่ง
ที่ client ต้อง
การ
ข้อ
มูล) และ
สำเนา
ข้อ
มูล
นั้น
มา
เก็บ
ที่ server
ภาพ
แสดง
การ
ทำ
งาน
ของ Proxy Server
Proxy Server Service
การ
เชื่อม
ต่อ Proxy Server กัน
จน
เป็น
เครือ
ข่าย
ก็
เป็น
ระบบ
ที่
ช่วย
ให้
ปริมาณ
ข้อ
มูล
ที่
ต้อง
วิ่ง
เข้า
-ออก ลด
ลง
ได้
มาก ดัง
ตัว
อย่าง
ที่
ยก
มา เป็น
การ
จำลอง
ว่า ถ้า
ผู้
ใช้ WEB อยู่
ที่
มหาวิทยาลัย
เกษตร
ศาสตร์ ต้อง
การ link ไป
ที่
บริษัท
ใน
ประเทศ หาก เคย
มี
ผู้ link ไป
ยัง site นี้
แล้ว ก็
จะ
ไม่
มี
การ download ข้อ
มูล
ที่
มี
อยู่
แล้ว
ใน proxy มา
อีก ซึ่ง
จะ
ทำ
ให้
ลด
ปริมาณ ของ data-stream ลง
ไป
ใน
ระดับ
หนึ่ง หรือ
หาก
ไม่
มี
ข้อ
มูล
ใน Proxy.ku.ac.th ก็
จะ
ไป
ตรวจ
ใน Proxy.ac.th ไป
เป็น
ทอด ๆ หาก
ไม่
มี
ข้อ
มูล
อยู่
ใน Proxy Server ใด ๆ เลย ก็
จะ
ไป
อ่าน
ข้อ
มูล
จาก Web-Site นั้น
ภาพ
แสดง
การ
เชื่อม
ต่อ
กัน
ระหว่าง Proxy Server จน
เป็น
ระบบ
ขนาด
ใหญ่
ข้อ
เสีย
ข้อ
เสีย
ของ
ระบบ
นี้
คือ บาง
ครั้ง
อาจ
ไม่
ได้
ข้อ
มูล
ที่
ใหม่
ที่
สุด เนื่อจาก proxy server บาง
ที่ มี
การ update ข้อ
มูล
เป็น
ประจำ แต่
บาง
ที่
ไม่
ค่ อย
มี
การ update ข้อ
มูล
เท่า
ใด
นัก
ตัว
อย่าง
การ
ทำ
งาน
ของ Proxy
Client ร้อง
ขอ
ข้อ
มูล
จาก Proxy Server
Proxy Server ตรวจ
สอบ
ข้อ
มูล
ที่
จะ download ว่า ข้อ
มูล
ใน disk กับข้อ
มูล
ที่ Server ปลาย
ทาง อัน
ไหน ใหม่
ที่
สุด หาก
ข้อ
มูล
ที่
ปลาย
ทางใหม่
กว่า
ก็
จะ download มา
เก็บ
ไว้
ใน disk ก่อน จาก
นั้น
จึง
ส่ง
กลับ
ไป
ให้ client
Client นำ
ข้อ
มูล
ที่
ได้
ไป
แสดง
ผล หรือ นำ
ไป
ใช้
งาน
รวบรวมโดย : คุณาวุฒิ สืบเสน ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์