ทฤษฎีไบโนเมียล เป็นกฎเกณฑ์ที่นิวตันได้นำเสนอ ไบโนเมียลเป็นนิพจน์ทางพีชคณิตของตัวเลขสองตัวที่ต่อเชื่อมกันด้วยเครื่องหมายบวกหรือเครื่องหมายลบ นิวตันได้เสนอวิธีทางลัดในการคูณไบโนเมียลได้ง่ายขึ้น โดยใช้ตัวเลขในสามเหลี่ยมของปาสคาล ตัวอย่าง (a+b)0 = 1 (a+b)1 = 1a + 1b (a+b)2 = 1a2 + 2ab + 1b2 (a+b)3 = 1a3 + 3a2b + 3ab2 + 1b3 : สัมประสิทธ์ ของแต่ละนิพจน์เป็นตัวเลขในสามเหลี่ยมของปาสคาล ทฤษฎีไบโนเมียลนำมาใช้ในภายหลังได้มาก เช่นในเรื่องการสื่อสารข้อมูล เฟรมข้อมูลประกอบด้วยนิพจน์ที่มี 0 และ 1 เมื่ออยู่ในเทอมของนิพจน์ยกกำลังที่จะต้องมาคูณหรือหารกัน การคิดคำนวณแบบไบโนเมียลทำให้การคูณหารนิพจน์ทำได้ง่ายขึ้น ที่มา : รศ. ยืน ภู่วรวรรณ, สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ตัวอย่าง (a+b)0 = 1 (a+b)1 = 1a + 1b (a+b)2 = 1a2 + 2ab + 1b2 (a+b)3 = 1a3 + 3a2b + 3ab2 + 1b3 : สัมประสิทธ์ ของแต่ละนิพจน์เป็นตัวเลขในสามเหลี่ยมของปาสคาล ทฤษฎีไบโนเมียลนำมาใช้ในภายหลังได้มาก เช่นในเรื่องการสื่อสารข้อมูล เฟรมข้อมูลประกอบด้วยนิพจน์ที่มี 0 และ 1 เมื่ออยู่ในเทอมของนิพจน์ยกกำลังที่จะต้องมาคูณหรือหารกัน การคิดคำนวณแบบไบโนเมียลทำให้การคูณหารนิพจน์ทำได้ง่ายขึ้น ที่มา : รศ. ยืน ภู่วรวรรณ, สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ทฤษฎีไบโนเมียลนำมาใช้ในภายหลังได้มาก เช่นในเรื่องการสื่อสารข้อมูล เฟรมข้อมูลประกอบด้วยนิพจน์ที่มี 0 และ 1 เมื่ออยู่ในเทอมของนิพจน์ยกกำลังที่จะต้องมาคูณหรือหารกัน การคิดคำนวณแบบไบโนเมียลทำให้การคูณหารนิพจน์ทำได้ง่ายขึ้น ที่มา : รศ. ยืน ภู่วรวรรณ, สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์